วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่16


EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันจันทรฺ์ ที่ 27  เมษายน พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 

ในสัปดาห์นี้ ไม่มรการเรียนการสอน แต่วันนี้อาจารย์ให้มาสอบร้องเพลงจากการจับฉลากขึ้นมา จับได้เพลงอะไรก็ร้องเพลงนั้น





เกณฑ์การให้คะเเนนคือ
ไม่ดูเนื้อร้อง = 5 คะแนน
ดูเนื้อร้อง = 4 คะแนน
ดูเนื้อร้องพร้อมให้เพื่อนร้องพร้อมกัน = 3 คะแนน
ดิฉันจับได้เพลง ฝึกกายบริหาร ร้องเพลงได้ 5คะแนน ดิฉันได้เพลง 

เพลง ลุงมาชาวนาลุงมาชาวนาเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย เอาไว้ช่วยทำนาลุงมาชาวนาเลี้ยงหมา เลี้ยงแมว ไว้เป็นเพื่อนลุงมา*หมาก็เห่า บ็อก บ็อกแมวก็ร้องเหมี๊ยว เหมี๊ยวลุงมาไถนาวัวร้อง มอ มอ (ซ้ำ


หลังจากสอบร้องเพลงเสร็จอาจารย์ได้ให้ราวัลเด็ฏดีกับเพื่อนที่มีปั๊มเข้าเรียนกับปั๊มเด็กดีที่มีมากที่สุด3อันดับ





การนำไปใช้

              เพลงที่อาจารย์นำมาสอนร้องนั้นสามารถไปปรับใช้ในอนาคตได้ทั้งนั้นไม่ว่าจะเป็นเด็ฏพิเศษหรือไม่ เพลงทุกเพลงถือเป็นประโยชน์อย่างมากในการเผยเเพราและการนำไปใช้สอนเด็ก

การประเมิน


อาจารย์:
          อาจารย์น่ารักเหมือนทุกครั้งวันนี้เป็นคาบเรียนครั้งสุดท้ายอาจารย์ก็ยังเตรียมความพร้อมในการสอนเด็กได้ดีเหมือนทุกครั้ง มีพูดคุยเป็นห่วงนักศึกษาให้คำแนะนำที่ดี
       

ตนเอง: 
     วันนี้เป็นคาบเรียนสุดท้ายท้ายสุดของวิชานี้เเล้วรู้สึกใจหายเหมือนกันเพราะวิชานี้เรียนแล้วสนุก เรียนแล้วไม่เครียด อาจารย์มีหลักในการสอนที่ให้นักศึกษานั้นจำได้ดี  วันนี้ได้เพลงลุงมาตอนเเเรกเตรียมตัวมาดีมากแต่พอออกไปหน้าชั้นเรียนตื่นเต้นๆเลยต้องขอดูเนื้อเพลงทำให้คะเเนนหายไป1ได้แค่4คะเเนน
     
เพื่อน:
         บรรยากาศภายในห้องเพื่อนๆตื่นเต้นกับการร้องเพลงมาก บางคนร้องเพลงเพราะ บางคนก็พอฟังๆได้555+


บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันพฤหัสบดีที่ 23  เมษายน พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 



นสัปดาห์อาจารย์ได้สอนกับการเขียนแผน  

โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล
แผน IEP
- แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
- เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟู
- การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
- โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผล
การเขียนแผน IEP

ก่อนการเขียนแผนIEPนั้นคุณ(ผู้เขียน)ต้องเรียนรู้พฤติกรรมของเด็กอย่างน้อย1ปีก่อน- คัดแยกเด็กพิเศษ
- ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
- ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
- เด็กสามารถทำอะไรได้ / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
- แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP
IEP ประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
- ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
- การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
- เป้าหมายระยาวประจำปี ระยะสั้น(ครูประจำชั้น)
- ระบุ วัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน
- วิธีการประเมินผล
ประโยชน์ต่อเด็ก
- ได้เรียนรู้ความสามารถของตน
- ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ
- ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องเหมาะสม
ประโยชน์ต่อครู
- เป็นนวทางในการจัดการเรียนสอนที่ตรงกับความสามารถของความต้องการของเด็ก
- เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนให้เหมาะกับเด็ก
- ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลง
- เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
- ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
- ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล
- ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
- เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างน่อเนื่อง
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
1. การรวบรวมข้อมูล
- รายงานทางการแพทย์
- รายงานการประเมินด้านต่างๆ
- บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง

*พฤติกรรมตลอดเทอม
2. การจัดทำแผน
- ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวระยะสั้น
- กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
กำหนดจุดมุ่งหมาย
- ระยะยาว
- ระยะสั้น
จุดมุ่งหมายระยะยาว

กำหนดให้กว้างๆ
- กำหนดให้ชัดเจน
-น้องนุ่มช่วยเหลือตนเองได้
-น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้
-น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้
จุดมุ่งหมายระยะสั้น

ต้องกำหนดเชิงพฤติกรรมเด็ก
- ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายของเด็ก
- เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3วัน
- จะสอนใคร
- พฤติกรรมอะไร
- เมื่อไหร่ที่ไหน
- พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
3. การใช้แผน
- เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยใช้แผนระยะสั้น
- นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
- จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4. การประเมินผล
- โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
- ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัด
- การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรรม อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน
การทำ IEP
1. การรวบรวมข้อมูล
2. การจัดทำแผน
3. การใช้แผน
4. การประเมิน

หลังจากที่เรียนรู้การเขียนแผนเสร็จอาจารย์ให้จับกลุ่มละ5คน ลองเขียนแผน IEP  ส่งในคาบเรียน

ภาพกิจกรรม



การนำไปใช้

               สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผน IEP ไปใช้ในอนาคตได้ในการสอนเด็กพิเศษ
     

การประเมิน


อาจารย์:
          วันนี้อาจารย์อธิบายเกียวกับแผนได้ละเอียดเข้าใจง่าย อาจารย์สอนสนุกเหมือนทุกๆวัน มีประสบการณ์ต่างๆนำมาเล่าให้นักศึกษาฟัง 
       

ตนเอง: 
      วันนี้ตั้งใจเรียนและรู้สึกว่าการเขียนแผน IEP นั้นไม่ยากแต่เราต้องเรียนรู้พฤติกรรมเด็กคนนั้นอย่า่งดี 
     
เพื่อน:
         บรรยากาศภายในห้องเพื่อนๆมักคุยกันเป็นช่วงๆ ตั้งใจฟังขั้นตอนการเขียนแผนIEP


บันทึกอนุทินครั้งที่14

EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันพฤหัสบดีที่ 16  เมษายน พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 


  

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันพฤหัสบดีที่ 9  เมษายน พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 


การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
4. ทักษะพื้นฐานทางการเรียน



เป้าหมาย
       การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ 
       มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
       เด็กรู้สึกว่า ฉันทำได้
       พัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
       อยากสำรวจ อยากทดลอง

ช่วงความสนใจ
       ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
       จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร

การเลียนแบบ
เด็กพิเศษเรียนรู้ได้ดีโดยการเลียนแบบเพื่อน

การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
       เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดชัดหรือไม่
       เด็กเข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่
       คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่

การรับรู้ การเคลื่อนไหว
       ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ้มรส กลิ่น

 


       ตอบสนองอย่างเหมาะสม
  
การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
       การกรอกน้ำ ตวงน้ำ
       ต่อบล็อก
       ศิลปะ
       มุมบ้าน
       ช่วยเหลือตนเอง


กรรไกรที่เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย


ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ
       ลูกปัดไม้ขนาดใหญ่
       รูปต่อที่มีจำนวนชิ้นไม่มาก



ความจำ
       จากการสนทนา
       เมื่อเช้าหนูทานอะไร
       แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
       จำตัวละครในนิทาน
       จำชื่อครู เพื่อน
       เล่นเกมทายของที่หายไป

ทักษะคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
       จัดกลุ่มเด็ก
       เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้ช่วงเวลาสั้นๆ
       ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
       ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
       ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
       ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
       บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
       รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
       มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
       เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
       พูดในทางที่ดี
       จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
       ทำบทเรียนให้สนุก

หลังจากเรียนภาคทฤษฎีเเล้วอาจารย์เเจกเนื้อเพลงให้ฝึกร้อง
เนื้อเพลง




การนำไปใช้

               สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางการเรียนไปปรับให้เหมาะสมกับเด็ก นำเทคนิค ขั้นตอนการสอนต่างๆไปพัฒนาการของเด็กพิเศษ และยังสามรถนำเพลงไปช่วยในการปรับพฤติกรรมของเด็กพิเศษได้ด้วย
     

การประเมิน


อาจารย์:
          วันนี้อาจารย์มีการเฉลยข้อสอบก่อนเข้าการเรียนถือว่าเป็นการทบทวนความทรู้ให้นักศึกษา และมีการฝึกร้องเพลง ด้วย บรรยากาศในห้องสนุกสนานไม่เครียดแต่อาจารย์ต้องเดินไปจุดต่างๆของห้องเพราะเพื่อนๆมักจะคุยกัน
       

ตนเอง: 
      วันนี้ตั้งใจเรียนและตื่นเต้นกับการที่ได้รู้คำตอบในการทำข้อสอบว่าจะถูกไหม มีคุยกับเพื่อนเป็นบางครั้ง  ตั้งใจฝึกการร้องเพลง
     
เพื่อน:
         บรรยากาศภายในห้องเพื่อนๆมักคุยกันเป็นช่วงๆ พออาจารย์จุ๊ๆก็จะเงียบสักพักก็คุยกัน ตั้แต่ก็มีส่วนมากในการตั้งใจเรียน ตั้งใจร้องเพลง 



วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่12

EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันพฤหัสบดีที่ 2  เมษายน พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 



  วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่11

EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันพฤหัสบดีที่ 26  มีนาคม พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 



                                                  สอบเก็บคะแนนข้อเขียน
โดยอาจารย์กำหนดสถานการณ์ในห้องที่มีเด็กพิเศษอยู่ให้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ตามประสบการณ์ความรู้ที่ได้ศึกษามา





บันทึกอนุทินครั้งที่10

EAED3214      INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102  เวลา08:30-12:20 น.

วันพฤหัสบดีที่ 19  มีนาคม พ.ศ.2558 

ความรู้ที่ได้รับ 






การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากขึ้นที่สุด  การกินอยู่ การเข้าห้องน้ำ การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การสร้างความอิสระ
-เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
-อยากทำงานความสามารถ
-เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือ ตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่ ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
-การได้ทำด้วยตนเอง
-เชื่อมั่งในตนเอง
-เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง 
-ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น 
-ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป 
-ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
-หนูทำช้า  หนูยังทำไม่ได้ (ห้ามพูดกับเด็ก)
จะช่วยเมื่อไหร่
-เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย
-หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว 
-เด็กรู้สึกยังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
-มักช่วยเด็กในช่วยกิจกรรม
-เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย
-หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
-มักช่วยเด็กในช่วยกิจกรรม
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง







ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
-แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
-เรียงลำดับตามขั้นตอน
การเข้าสวม 
-เข้าไปในห้องส้วม
-ดึงกางเกงลงมา
-ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
-ปัสสาวะหรืออุจจาระ
-ใช้กระดาษชำระเซ็ดก้น
-ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
-กดชักโครกหรือตักน้ำราด
-ดึงกางเกง
-ล้างมือ
-เช็ดมือ
-เดินออกจากห้องส้วม
การวางแผนทีละขั้น
-แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่ยอให้มากที่สุด

สรุป
-ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
-ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
-ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
-ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
-เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ

กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้ระบายสีในวงกลมแล้วให้ไปติดทีละคนเป็นต้นไม้







การนำไปใช้

      ในการเรียนการสอนวันนี้มีทั้งเนื้อหาทางทฤษฎีและการปฎิบัติสามารถนำไปปรับใช้ในกิจกรรมเพื่อส่งเสริมเด็กพิเศษเรียนมีทักษะการช่วยเหลือของเด็กตั้งแต่วัย2-6ปี เพื่อไปจัดทำแผนการสอน IEP -ของเด็กรวมได้อย่างดี  เเละกิจกรมที่มีเนื้อหาเข้าใจง่ายเหมาะกับการท่องจำ

การประเมิน


อาจารย์:
          วันนี้อาจารย์เตรียมการสอนได้อย่างดี มีการเตรียมกิจกรรมมาให้นักศึกษาได้ร่วมอย่างสนุกสนาน บรรยากาศการเรียนไม่ตึงเครียด ผ่อนคลาย มีการเชื่องโยงกิจกกรรมได้อย่างเข้าใจง่ายและการถ่ายทอดประสบการณ์จริง
       

ตนเอง: 
      วันนี้ตั้งใจเรียนและสนุกสนาานในการทำกิจกรรมมีการสนทนาโต้ตอบข้อสงสัยกับอาจารย์
     
เพื่อน:
        ตั้งใจเรียน เเละสนทนาตอบโต้กับอาจารย์ บรรยากาศภายในห้องตั้งใจทำงานเรียนสนุกสนานและตื่นเต้นในการเปะรูปต้นมาของแต่ละคน